เพจโรงเรียนเทศบาลวัดดอนแก้ว
พระบุญช่วย สกุล วิมโล ชื่อเล่น พระหมู
เกิด ๗ เดือน มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๑
บ้านเลขที่ วัดดอนแก้ว ตำบล แม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก 63110
ชุมชน สองแคว
๑. ทรงความรู้เรื่อง ผู้นำทางศาสนา ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น
ทักษะ การดำเนินชีวิต ความเชื่อ ศรัทธาในพระพุทธศาสนา
๒. ความสัมพันธ์ ระหว่าง √ คนกับคน
√ คนกับธรรมชาติ
๓. ภูมิปัญญา / กิจกรรมที่ใช้กับวิถีชีวิต การเผยแผ่หลักธรรม คำสอนของพระพุทธศาสนา และเผยแผ่ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น
๔. ภูมิปัญญา /แก้ไขปัญหา /การจัดการ /การปรับตัว /การเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด ของบุคคลชุมชนและสังคม
ศาสนาสอนให้เรารู้จักการใช้เหตุและผลในการนำหลักธรรมคำ
สอนมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
๕. ภูมิปัญญา แกนหลัก / กระบวนทัศน์ในการมองชีวิต
แต่ความดี ประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดี
๖. ภูมิปัญญาไทยมีเอกลักษณ์ในตัว
การดำเนินชีวิตประจำวัน โดยการกราบไหว้ ถือเป็นวัฒนธรรมไทยที่เป็นเอกลักษณ์ประจำชาติไทย
๗. ภูมิปัญญาไทยเปลี่ยนแปลง เพื่อปรับสมดุลในการพัฒนาทางสังคม
ศาสนาพุทธถือเป็นศาสนาประจำชาติไทย การปรับตัวให้เข้ากับสังคมคือการปรับตัวทางด้านการอยู่ร่วมกับผู้ที่นับถือศาสนาต่างกัน ควรให้เกียรติซึ่งกันและกัน
พระบุญรอด สกุล ชินทตฺโต ชื่อเล่น พระบุญรอด
เกิด ๑๓ เดือน เมษายน พ.ศ.๒๔๙๗
บ้านเลขที่ วัดบุญญาวาส ตำบล แม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก 63110
ชุมชน บ้านเหนือสามัคคี
๑. ทรงความรู้เรื่อง ผู้นำทางศาสนา ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่นทักษะ การดำเนินชีวิตความเชื่อ ศรัทธาในพระพุทธศาสนา
๒. ความสัมพันธ์ ระหว่าง √ คนกับคน √ คนกับธรรมชาติ
๓. ภูมิปัญญา / กิจกรรมที่ใช้กับวิถีชีวิต
การเผยแผ่หลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา เผยแผ่วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น ชาวแม่สอด
๔. ภูมิปัญญา /แก้ไขปัญหา /การจัดการ /การปรับตัว /การเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด ของบุคคลชุมชนและสังคม
การทำโคมลอยเป็นความเชื่อของชาวเหนือที่สอดแทรกหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาปรับใช้ใน วิถีของชุมชน
๕. ภูมิปัญญา แกนหลัก / กระบวนทัศน์ในการมองชีวิต
ใช้หลักธรรมและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาเข้ามาประยุกต์กับความเชื่อของชุมชนโดยผ่าน การทำโคมลอย
๖. ภูมิปัญญาไทยมีเอกลักษณ์ในตัว
การทำโคมลอยแบบโบราณผสานความเชื่อในทางพระพุทธศาสนา
๗. ภูมิปัญญาไทยเปลี่ยนแปลง เพื่อปรับสมดุลในการพัฒนาทางสังคม
การทำโคมลอยทำให้ชุมชนเกิดความรักความสามัคคีกันและสอดแทรกในเรื่องของการทำความดี การปลดปล่อยสิ่งที่ไม่ดีให้ออกไปจากผู้คนและสังคม
นายเย็น สกุล หมวกน้อย ชื่อเล่น พ่อจันทร์
เกิด - เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๗๒
บ้านเลขที่ ๗๗/๓๔ ถ. สองแคว ตำบล แม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก 63110
ชุมชน สองแคว
๑. ทรงความรู้เรื่อง ด้านการเกษตร ด้านหัตถกรรมจักสาน สมุนไพรไทยทักษะ การดำเนินชีวิตความเชื่อ ศรัทธาในภูมิปัญญาของชาวไทยในอดีต
๒. ความสัมพันธ์ ระหว่าง √ คนกับคน
√ คนกับธรรมชาติ
๓. ภูมิปัญญา / กิจกรรมที่ใช้กับวิถีชีวิต
การใช้ภูมิปัญญาด้านการทำนาของชาวนาแม่สอด มาใช้ในการทำนาอินทรีย์
๔. ภูมิปัญญา /แก้ไขปัญหา /การจัดการ /การปรับตัว /การเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด ของบุคคลชุมชนและสังคม
การนำภูมิปัญญาในด้านการทำนาของชาวแม่สอดมาปรับใช้ในการทำนาอินทรีย์ เพื่อให้ตัวเรา สังคมและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเราปลอดภัยจากสารเคมีต่าง ๆ
๕. ภูมิปัญญา แกนหลัก / กระบวนทัศน์ในการมองชีวิต
ทำเพื่อลูกหลานของเราให้มีความรู้ ในเรื่องท้องถิ่น
๖. ภูมิปัญญาไทยมีเอกลักษณ์ในตัว
การทำนาอินทรีย์โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวแม่สอด
๗. ภูมิปัญญาไทยเปลี่ยนแปลง เพื่อปรับสมดุลในการพัฒนาทางสังคม
การทำนาปลูกข้าวเป็นอาชีพหลักของคนไทยมาตั้งแต่อดีต แต่ช่วงหลังคนไทยกลับนำปุ๋ยเคมี และสารเคมีมาใช้ในการทำนาปลูกข้าวทำให้เสียค่าใช้จ่าย ในการทำนาเพิ่มมากขึ้น ชาวนาต้องเป็นหนี้ เป็นสิน ยากจนเพิ่มขึ้นและผลผลิตที่ได้ก็ปนเปื้อนสารเคมีต่าง ๆ ทำให้ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัญหาต่อเกษตรกรไทย ในปัจจุบันนี้
นายนิพนธ์ สกุล ปัญญากาวิน ชื่อเล่น พ่อพน
เกิด 24 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๗๗
บ้านเลขที่ ๑๙ ถ. สองแคว ตำบล แม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก 63110
ชุมชน ร่วมใจ
๑. ทรงความรู้เรื่อง ด้านพิธีกรรมทางศาสนา สืบชะตา เป็นมัคทายกวัดอรัญญาเขต
ทักษะ การดำเนินชีวิต
ความเชื่อ ศรัทธาในภูมิปัญญาของชาวไทยในอดีต
๒. ความสัมพันธ์ ระหว่าง √ คนกับคน
√ คนกับธรรมชาติ
๓. ภูมิปัญญา / กิจกรรมที่ใช้กับวิถีชีวิต
การใช้ภูมิปัญญาด้านพิธีกรรมทางศาสนา สืบชะตา เป็นมัคทายก
๔. ภูมิปัญญา /แก้ไขปัญหา /การจัดการ /การปรับตัว /การเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด ของบุคคลชุมชนและสังคม
การใช้ภูมิปัญญาทางด้านพระพุทธศาสนา สร้างขวัญและกำลังใจให้กับชาวพุทธ
๕. ภูมิปัญญา แกนหลัก / กระบวนทัศน์ในการมองชีวิต
ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาสร้างความสบายใจให้กับผู้คน
๖. ภูมิปัญญาไทยมีเอกลักษณ์ในตัว
ารสืบชะตา โดยใช้แนวปฏิบัติของชาวพุทธ เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้ชาวพุทธ
๗. ภูมิปัญญาไทยเปลี่ยนแปลง เพื่อปรับสมดุลในการพัฒนาทางสังคม
ใช้หลักศาสนาขัดเกลาจิตใจ ให้สงบ และมีความสุข
นางดา สกุล หมวกน้อย ชื่อเล่น แม่ดา
เกิด - เดือน มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๙
บ้านเลขที่ ๗๗/๓๔ ถ. สองแคว ตำบล แม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก 63110
ชุมชน สองแคว
๑. ทรงความรู้เรื่อง ด้านการเกษตร ด้านหัตถกรรมจักสาน
ทักษะ การดำเนินชีวิต
ความเชื่อ ศรัทธาในภูมิปัญญาของชาวไทยในอดีต
๒. ความสัมพันธ์ ระหว่าง √ คนกับคน
√ คนกับธรรมชาติ
๓. ภูมิปัญญา / กิจกรรมที่ใช้กับวิถีชีวิต
การใช้ภูมิปัญญาด้านการทำนาของชาวนาแม่สอด มาใช้ในการทำนาอินทรีย์
๔. ภูมิปัญญา /แก้ไขปัญหา /การจัดการ /การปรับตัว /การเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด ของบุคคลชุมชนและสังคม
การนำภูมิปัญญาในด้านการทำนาของชาวแม่สอดมาปรับใช้ในการทำนาอินทรีย์ เพื่อให้ตัวเรา สังคมและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเราปลอดภัยจากสารเคมีต่าง ๆ
๕. ภูมิปัญญา แกนหลัก / กระบวนทัศน์ในการมองชีวิต
อยากสอนเด็ก ๆ จนกว่าจะหมดลมหายใจ
๖. ภูมิปัญญาไทยมีเอกลักษณ์ในตัว
การทำนาอินทรีย์โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
๗. ภูมิปัญญาไทยเปลี่ยนแปลง เพื่อปรับสมดุลในการพัฒนาทางสังคม
การทำนาปลูกข้าวเป็นอาชีพหลักของคนไทยมาตั้งแต่อดีต แต่ช่วงหลังคนไทยกลับนำปุ๋ยเคมี และสารเคมีมาใช้ในการทำนาปลูกข้าวทำให้เสียค่าใช้จ่าย ในการทำนาเพิ่มมากขึ้น ชาวนาต้องเป็นหนี้ เป็นสิน ยากจนเพิ่มขึ้นและผลผลิตที่ได้ก็ปนเปื้อนสารเคมีต่าง ๆ ทำให้ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัญหาต่อเกษตรกรไทย ในปัจจุบันนี้
นายสมพล สกุล ล้านคำ ชื่อเล่น พ่อน้อย
เกิด - เดือน - พ.ศ.๒๔๘๘
บ้านเลขที่ ๑๙๑/๑ ถ. บ้านทุ่ง ตำบล แม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก 63110
ชุมชน ประชารักษ์
๑. ทรงความรู้เรื่อง ด้านการเกษตร จักสานหัตถกรรม ช่างไม้ ตุงสืบชะตา ตุงดอก ทักษะ การดำเนินชีวิตความเชื่อ ศรัทธาในภูมิปัญญาของชาวไทยในอดีต
๒. ความสัมพันธ์ ระหว่าง √ คนกับคน
√ คนกับธรรมชาติ
๓. ภูมิปัญญา / กิจกรรมที่ใช้กับวิถีชีวิต
การใช้ภูมิปัญญาด้านการทำนาของชาวนาแม่สอด มาใช้ในการทำนาอินทรีย์
๔. ภูมิปัญญา /แก้ไขปัญหา /การจัดการ /การปรับตัว /การเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด ของบุคคลชุมชนและสังคม
การนำภูมิปัญญาในด้านการทำนาของชาวแม่สอดมาปรับใช้ในการทำนาอินทรีย์ เพื่อให้ตัวเรา สังคมและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเราปลอดภัยจากสารเคมีต่าง ๆ
๕. ภูมิปัญญา แกนหลัก / กระบวนทัศน์ในการมองชีวิต
นำภูมิปัญญาในการทำนาในอดีตมาพัฒนา การปลูกข้าวสมัยใหม่ ให้ได้ข้าวอินทรีย์ที่มีผลดีต่อตัวเราและสิ่งแวดล้อม
๖. ภูมิปัญญาไทยมีเอกลักษณ์ในตัว
ข้าวเป็นอาหารหลักของคนไทย และคนในทวีปเอเชีย คนไทยมีการปลูกข้าวเป็นจำนวนมาก เราจึงนำครูภูมิปัญญาในสมัยก่อนมาช่วยในการปลูกข้าว
๗. ภูมิปัญญาไทยเปลี่ยนแปลง เพื่อปรับสมดุลในการพัฒนาทางสังคม
การทำนาปลูกข้าวเป็นอาชีพหลักของคนไทยมาตั้งแต่อดีต แต่ช่วงหลังคนไทยกลับนำปุ๋ยเคมี และสารเคมีมาใช้ในการทำนาปลูกข้าวทำให้เสียค่าใช้จ่าย ในการทำนาเพิ่มมากขึ้น ชาวนาต้องเป็นหนี้ เป็นสิน ยากจนเพิ่มขึ้นและผลผลิตที่ได้ก็ปนเปื้อนสารเคมีต่าง ๆ ทำให้ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัญหาต่อเกษตรกรไทย ในปัจจุบันนี้
นายเงิน สกุล อินต๊ะ ชื่อเล่น พ่อหง่วย
เกิด ๑๒ เดือน มิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๘
บ้านเลขที่ ๙๓/๓๖ ถ. สองแคว ตำบล แม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก 63110
ชุมชน สองแคว
๑. ทรงความรู้เรื่อง ด้านหัตถกรรมการจักสาน ด้านการเกษตรทักษะ การดำเนินชีวิตความเชื่อ ศรัทธาในภูมิปัญญาของชาวไทยในอดีต
๒. ความสัมพันธ์ ระหว่าง √ คนกับคน
√ คนกับธรรมชาติ
๓. ภูมิปัญญา / กิจกรรมที่ใช้กับวิถีชีวิต
การใช้ภูมิปัญญาด้านการทำนาของชาวนาแม่สอด มาใช้ในการทำนาอินทรีย์
๔. ภูมิปัญญา /แก้ไขปัญหา /การจัดการ /การปรับตัว /การเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด ของบุคคลชุมชนและสังคม
การนำภูมิปัญญาในด้านการทำนาของชาวแม่สอดมาปรับใช้ในการทำนาอินทรีย์ เพื่อให้ตัวเรา สังคมและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเราปลอดภัยจากสารเคมีต่าง ๆ และการทำเครื่องจักสานต่าง ๆ
๕. ภูมิปัญญา แกนหลัก / กระบวนทัศน์ในการมองชีวิต
ห่วงลูกหลานลืมความเป็นไทย การใช้ของไทย การประดิษฐ์ของใช้ต่าง ๆ ด้วยวัสดุธรรมชาติ
๖. ภูมิปัญญาไทยมีเอกลักษณ์ในตัว
การจักสานเครื่องใช้ต่าง ๆ จากไม่ไผ่
๗. ภูมิปัญญาไทยเปลี่ยนแปลง เพื่อปรับสมดุลในการพัฒนาทางสังคม
การทำเครื่องจักสานต่าง ๆ ด้วยไม่ไผ่ เพื่อให้เข้ากับยุคสมัย ในปัจจุบันและสร้างรายได้ให้กับครอบครัว
นายเฮือน สกุล หมื่นปรากฎดี ชื่อเล่น พ่อเฮือน
เกิด ๑ เดือน เมษายน พ.ศ.๒๔๗๖
บ้านเลขที่ ๓๙/๖ ถ. สองแคว ตำบล แม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก 63110
ชุมชน สองแคว
๑. ทรงความรู้เรื่อง ด้านการเกษตรทักษะ การดำเนินชีวิตความเชื่อ ศรัทธาในภูมิปัญญาของชาวไทยในอดีต
๒. ความสัมพันธ์ ระหว่าง √ คนกับคน
√ คนกับธรรมชาติ
๓. ภูมิปัญญา / กิจกรรมที่ใช้กับวิถีชีวิต
การใช้ภูมิปัญญาด้านการทำนาของชาวนาแม่สอด มาใช้ในการทำนาอินทรีย์
๔. ภูมิปัญญา /แก้ไขปัญหา /การจัดการ /การปรับตัว /การเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด ของบุคคลชุมชนและสังคม
การนำภูมิปัญญาในด้านการทำนาของชาวแม่สอดมาปรับใช้ในการทำนาอินทรีย์ เพื่อให้ตัวเรา สังคมและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเราปลอดภัยจากสารเคมีต่าง ๆ และการทำเครื่องจักสานต่าง ๆ
๕. ภูมิปัญญา แกนหลัก / กระบวนทัศน์ในการมองชีวิต
มีความสุขทุก ๆ ครั้ง ที่ได้สอนเด็ก ๆ ทำนา
๖. ภูมิปัญญาไทยมีเอกลักษณ์ในตัว
การทำนาอินทรีย์ โดยใช้ภูมิปัญญาดั่งเดิมของชาวนครแม่สอด
๗. ภูมิปัญญาไทยเปลี่ยนแปลง เพื่อปรับสมดุลในการพัฒนาทางสังคม
การทำนาปลูกข้าวเป็นอาชีพหลักของคนไทยมาตั้งแต่อดีต แต่ช่วงหลังคนไทยกลับนำปุ๋ยเคมี และสารเคมีมาใช้ในการทำนาปลูกข้าวทำให้เสียค่าใช้จ่าย ในการทำนาเพิ่มมากขึ้น ชาวนาต้องเป็นหนี้ เป็นสิน ยากจนเพิ่มขึ้นและผลผลิตที่ได้ก็ปนเปื้อนสารเคมีต่าง ๆ ทำให้ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัญหาต่อเกษตรกรไทย ในปัจจุบันนี้
นายจันทร์ สกุล ก้อนนคร ชื่อเล่น พ่อจันทร์
เกิด ๑๖ เดือน เมษายน พ.ศ.๒๔๙๐
บ้านเลขที่ ๑๒๗/๒ ถ. สองแคว ตำบล แม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก 63110
ชุมชน สองแคว
๑. ทรงความรู้เรื่อง ด้านการเกษตร ด้านหัตถกรรมจักสาน ช่างไม้ ทักษะ การดำเนินชีวิต ความเชื่อ ศรัทธาในภูมิปัญญาของชาวไทยในอดีต
๒. ความสัมพันธ์ ระหว่าง √ คนกับคน
√ คนกับธรรมชาติ
๓. ภูมิปัญญา / กิจกรรมที่ใช้กับวิถีชีวิต
การใช้ภูมิปัญญาด้านการทำนาของชาวนาแม่สอด มาใช้ในการทำนาอินทรีย์
๔. ภูมิปัญญา /แก้ไขปัญหา /การจัดการ /การปรับตัว /การเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด ของบุคคลชุมชนและสังคม
การนำภูมิปัญญาในด้านการทำนาของชาวแม่สอดมาปรับใช้ในการทำนาอินทรีย์ เพื่อให้ตัวเรา สังคมและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเราปลอดภัยจากสารเคมีต่าง ๆ และการทำไม้ให้หลายรูปแบบ
๕. ภูมิปัญญา แกนหลัก / กระบวนทัศน์ในการมองชีวิต
การทำในสิ่งที่รัก และชอบทำ จนส่งผลให้เป็นอาชีพที่เรารัก
๖. ภูมิปัญญาไทยมีเอกลักษณ์ในตัว
การทำเกษตรแบบดั่งเดิม และทำงานช่างไม้
๗. ภูมิปัญญาไทยเปลี่ยนแปลง เพื่อปรับสมดุลในการพัฒนาทางสังคม
การทำนาปลูกข้าวเป็นอาชีพหลักของคนไทยมาตั้งแต่อดีต แต่ช่วงหลังคนไทยกลับนำปุ๋ยเคมี และสารเคมีมาใช้ในการทำนาปลูกข้าวทำให้เสียค่าใช้จ่าย ในการทำนาเพิ่มมากขึ้น ชาวนาต้องเป็นหนี้ เป็นสิน ยากจนเพิ่มขึ้นและผลผลิตที่ได้ก็ปนเปื้อนสารเคมีต่าง ๆ ทำให้ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัญหาต่อเกษตรกรไทย ในปัจจุบันนี้
บัวเขียว สกุล สุนะตา ชื่อเล่น แม่เขียว
เกิด - เดือน มีนาคม พ.ศ.๒๔๘๗
บ้านเลขที่ ๑๐๕/๑ ถ. สองแคว ตำบล แม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก 63110
ชุมชน สองแคว
๑. ทรงความรู้เรื่อง ด้านการเกษตร ด้านหัตถกรรมจักสาน ทักษะ การดำเนินชีวิต ความเชื่อ ศรัทธาในภูมิปัญญาของชาวไทยในอดีต
๒. ความสัมพันธ์ ระหว่าง √ คนกับคน
√ คนกับธรรมชาติ
๓. ภูมิปัญญา / กิจกรรมที่ใช้กับวิถีชีวิต
การใช้ภูมิปัญญาด้านการทำนาของชาวนาแม่สอด มาใช้ในการทำนาอินทรีย์
๔. ภูมิปัญญา /แก้ไขปัญหา /การจัดการ /การปรับตัว /การเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด ของบุคคลชุมชนและสังคม
การนำภูมิปัญญาในด้านการทำนาของชาวแม่สอดมาปรับใช้ในการทำนาอินทรีย์ เพื่อให้ตัวเรา สังคมและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเราปลอดภัยจากสารเคมีต่าง ๆ และการทำไม้ให้หลายรูปแบบ
๕. ภูมิปัญญา แกนหลัก / กระบวนทัศน์ในการมองชีวิต
การทำในสิ่งที่รัก และชอบทำ จนส่งผลให้เป็นอาชีพที่เรารัก
๖. ภูมิปัญญาไทยมีเอกลักษณ์ในตัว
การทำเกษตรแบบดั่งเดิม และทำงานช่างไม้
๗. ภูมิปัญญาไทยเปลี่ยนแปลง เพื่อปรับสมดุลในการพัฒนาทางสังคม
การทำนาปลูกข้าวเป็นอาชีพหลักของคนไทยมาตั้งแต่อดีต แต่ช่วงหลังคนไทยกลับนำปุ๋ยเคมี และสารเคมีมาใช้ในการทำนาปลูกข้าวทำให้เสียค่าใช้จ่าย ในการทำนาเพิ่มมากขึ้น ชาวนาต้องเป็นหนี้ เป็นสิน ยากจนเพิ่มขึ้นและผลผลิตที่ได้ก็ปนเปื้อนสารเคมีต่าง ๆ ทำให้ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัญหาต่อเกษตรกรไทย ในปัจจุบันนี้
นางวนาวัลย์ สกุล อินต๊ะ ชื่อเล่น แม่พวน
เกิด ๒๕ เดือน เมษายน พ.ศ.๒๕๑๑
บ้านเลขที่ ๙๓/๓๘ ถ. สองแคว ตำบล แม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัด ตาก 63110
ชุมชน สองแคว
๑. ทรงความรู้เรื่อง ด้านการนวดแผนไทยทักษะ การดำเนินชีวิต
ความเชื่อ เรื่องนวดแผนไทยที่ช่วยรักษาการปวดเมื่อยของร่างกายมนุษย์
๒.ความสัมพันธ์ ระหว่าง √ คนกับคน
√ คนกับธรรมชาติ
๓. ภูมิปัญญา / กิจกรรมที่ใช้กับวิถีชีวิต
ใช้ความรู้ทางด้านแพทย์แผนไทยและความรู้ด้านสาธารณะสุขสมัยใหม่ช่วยดูแลผู้ที่ปวกเมื่อยตามร่างกาย และดูแลสาธารณะสุขมูลฐานของชุมชน
๔. ภูมิปัญญา /แก้ไขปัญหา /การจัดการ /การปรับตัว /การเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด ของบุคคลชุมชนและสังคม
ใช้ภูมิปัญญาในการนวดแผนไทยรักษาอาการปวดเมื่อยตามร่างกายให้กับคนที่เข้ามารักษาจนมีรายได้ สามารถดูแลตนเองและครอบครัวให้อยู่อย่างมีความสุข
๕. ภูมิปัญญา แกนหลัก / กระบวนทัศน์ในการมองชีวิต
สืบทอดและรักษาภูมิปัญญาการนวดแผนไทยให้คงอยู่กับสังคมไทย
๖. ภูมิปัญญาไทยมีเอกลักษณ์ในตัว
การนวดแผนไทยเป็นมรดกของไทยที่ทั่วโลกให้การยอมรับ
๗. ภูมิปัญญาไทยเปลี่ยนแปลง เพื่อปรับสมดุลในการพัฒนาทางสังคม
การนวดแผนไทยเป็นอาชีพที่สุจริตและเป็นที่ยอมรับของคนทั่วโลก สามารถสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบอาชีพนวดแผนไทยได้อย่างดี